EDUCA แนะ 9 เทคนิคให้ครูซ้อม Teach from Home แบบไม่ Burnout!

EDUCA แนะ 9 เทคนิคให้ครูซ้อม Teach from Home แบบไม่ Burnout

การระบาดของไวรัสโควิด-19 ส่งผลให้สถาบันการศึกษาต้องเปลี่ยนรูปแบบการสอนครั้งใหญ่ ตอนนี้อาจารย์มหาวิทยาลัยได้ปรับโหมดสู่การสอนออนไลน์อย่างเต็มตัว ส่วนครูในโรงเรียนต่างๆ อยู่ระหว่างเตรียมการสอนสำหรับการเปิดเทอมใหม่ของปีการศึกษา 2563 ซึ่งจะเริ่มต้นในวันที่ 1 กรกฎาคมนี้

อย่างไรก็ตาม เพราะไม่อาจคาดการณ์ได้ชัดเจนว่าวิกฤติไวรัสโควิด-19 จะจบลงเมื่อไร บวกกับสถานการณ์ที่ต้อง Social Distancing ทำให้การพบปะพูดคุยกันแบบเดิมเปลี่ยนไปเป็นการสื่อสารผ่านหน้าจอโทรศัพท์มือถือหรือคอมพิวเตอร์ ซึ่งปฏิเสธไม่ได้ว่าการใช้เวลาอยู่กับหน้าจอแบบนี้นานๆ คนเดียว โดยไม่ได้มีปฏิสัมพันธ์กันแบบ Face to Face ก็อาจทำให้ครูและอาจารย์เกิดอาการ Burnout หรือภาวะหมดไฟในการทำงานได้

EDUCA รวบรวม 9 เทคนิคสำหรับการ Teach from Home ทั้งการเตรียมการสอนสำหรับช่วงเปิดเทอม ซึ่งจะเป็นแนวทางสำคัญให้กับครูสามารถจัดการตัวเองทั้งด้านการทำงานและชีวิตส่วนตัวได้อย่างมีประสิทธิภาพ

เตรียมพร้อมด้านอุปกรณ์และโปรแกรม

แม้จะมีหลายโปรแกรมที่ครูสามารถดาวน์โหลดมาใช้งานได้ฟรีในการสอนออนไลน์ แต่บางโปรแกรมก็อาจมีข้อจำกัดบางอย่าง เช่น ระยะเวลาในการออนไลน์ หรือจำนวนผู้เข้าร่วมกลุ่ม ซึ่งหากครูต้องการใช้งานโปรแกรมได้เต็มรูปแบบจะต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม ดังนั้น ควรสอบถามถึงการสนับสนุนไปทางโรงเรียน โดยโรงเรียนบางแห่งมีความพร้อมที่จะซื้อโปรแกรมสำหรับใช้งานรายปีให้กับครู ทั้งระดับชั้น โดยเฉพาะช่วงปิดเทอมนี้ หากครูมีโปรแกรมช่วยบันทึกคะแนนนักเรียน หรือโปรแกรมช่วยตรวจข้อสอบ ก็จะช่วยลดภาระงานของครูได้มากทีเดียว

ทำความเข้าใจกับสมาชิกในบ้าน

ถ้าต้องใช้พื้นที่ส่วนกลางของบ้านในการสอนออนไลน์ ก็ควรพูดคุยและทำความเข้าใจกับสมาชิกในบ้านก่อนว่ามีสิ่งใดบ้างที่พวกเขาสามารถทำอะไรได้บ้าง หรือไม่ควรทำอะไรที่จะรบกวนการสอนออนไลน์ สำหรับบ้านที่มีเด็กก็ต้องหาพื้นที่ให้น้องๆ ได้ทำกิจกรรมเป็นสัดส่วนในขณะนั้น หรือบ้านที่มีสัตว์เลี้ยงก็ต้องให้สมาชิกในบ้านมาช่วยดูแลแทนก่อน

ทำภารกิจส่วนตัวให้เรียบร้อย

ควรทำภารกิจส่วนตัวต่างๆ ให้เรียบร้อยก่อนเริ่มสอน ทั้งการอาบน้ำ แต่งตัว การรับประทานอาหาร ชงกาแฟ รวมถึงการอัปเดตข่าวสาร เช็กอีเมล์ และโซเชียลมีเดียต่างๆ สิ่งเหล่านี้อาจดูเป็นเรื่องเล็กน้อย แต่ถ้าครูเสียเวลาไปกับกิจกรรมเหล่านี้เป็นระยะๆ ระหว่างการทำงานก็อาจส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานในภาพรวมได้

วางแผนงานที่ต้องทำ

วางแผนการทำงานให้ชัดเจนว่าแต่ละวันต้องทำอะไรบ้าง และต้องใช้เวลานานเท่าไร โดยเรียงลำดับจากงานที่สำคัญที่สุดก่อน ซึ่งไม่เพียงแต่วางแผนเกี่ยวกับงานด้านการสอนอย่างเดียว ควรมองครอบคลุมไปถึงงานบ้านที่ต้องทำด้วย

ตั้งเตือนเวลาบนมือถือ

เพราะการสอนจากที่บ้านไม่มีเสียงออดหรือระฆังคอยเตือนเวลาเหมือนการสอนที่โรงเรียน ดังนั้น ครูควรตั้งเวลาในการจัดการเวลา โดยอาจใช้โทรศัพท์มือถือในการกำหนดเวลา หรือตั้งเตือนสำหรับงานที่ต้องทำ เพราะโดยส่วนใหญ่แล้ว เรามักใช้เวลาทำงานต่างๆ นานกว่าที่เราคาดการณ์ไว้

เตรียมอาหารการกินให้พร้อม

ครูควรเตรียมอาหารให้เสร็จเรียบร้อยตั้งแต่คืนก่อนหน้า หรือในตอนเช้า เพื่อลดความวุ่นวายที่จะเกิดขึ้นระหว่างวัน พร้อมทั้งกำหนดเวลาพักรับประทานอาหารและเวลาพักเบรกสั้นๆ ให้ชัดเจน เพื่อให้สมองและร่างกายไม่ล้าจนเกินไป

ออกไปสูดอากาศบริสุทธิ์

Teach from Home ไม่ได้หมายความว่าต้องสอนหรือทำงานอยู่ในตัวบ้านอย่างเดียว ครูอาจเลือกว่าในแต่ละวันจะทำงานตรงไหนของบ้าน ซึ่งอาจเปลี่ยนบรรยากาศมาสูดอากาศหรือทำงานในสวนก็ได้ ขอเพียงเป็นพื้นที่ที่เข้าถึงสัญญาณอินเทอร์เน็ตได้เป็นอย่างดี เพื่อให้การทำงานไม่ติดขัด และไม่มีเสียงรบกวนจากภายนอก เพราะหัวใจสำคัญคือ การสร้างสภาพแวดล้อมและบรรยากาศการทำงานที่มีความสุข

ทำงานอดิเรก

หลังจากทำงานอย่างเต็มที่แล้วก็อย่าลืมให้เวลากับงานอดิเรกที่ตัวเองชื่นชอบ เพื่อได้ทำในสิ่งที่รัก และเป็นการผ่อนคลายความเครียดจากการทำงาน หรืออาจหากิจกรรมสนุกๆ ทำอย่างการออกกำลังกายผ่าน YouTube ทำกับข้าวหรือขนมอร่อยๆ อ่านหนังสือ หรือดูซีรีส์ เป็นต้น

พูดคุยกับเพื่อนครูคนอื่น

ช่วงเวลาของการอยู่บ้านสำหรับการเตรียมการสอนสำหรับเทอมหน้า ตรวจข้อสอบเด็ก หรือสอนออนไลน์ ทำให้ครูไม่ได้พบปะเพื่อนครูบ่อยเหมือนเดิม ซึ่งไม่แปลกถ้าครูจะรู้สึกเหงาบ้าง แต่ครูสามารถใช้กลุ่มแชทในการพูดคุย หรือปรึกษาประเด็นต่างๆ กับเพื่อนครู ไม่ว่าจะการถามไถ่สารทุกข์สุขดิบ สอบถามเรื่องงาน หรือเรื่องสัพเพเหระทั่วไป

ทั้งนั้น แม้การปรับรูปแบบการสอนและการทำงานเป็นแบบออนไลน์จะเป็นเรื่องใหม่สำหรับครูไทย เพราะมีความท้าทายกับเครื่องมือและโปรแกรมที่อาจยังไม่คุ้นชิน รวมถึงต้องปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตกันครั้งใหญ่ แต่วิกฤติโควิด-19 ถือเป็นโอกาสที่ทำให้ครูได้ทดลองสิ่งใหม่ๆ เพื่อเตรียมรับมือกับสถานการณ์ในอนาคตที่คาดเดาไม่ได้ ซึ่งสิ่งสำคัญที่สุดคือ ครูต้องไม่ลืมรักษาสมดุลระหว่างการทำงาน และดูแลสุขภาพกายใจให้มั่นคง เพื่อก้าวผ่านวิกฤตินี้ไปด้วยกัน

Related posts

  1. สำหรับคนในแวดวงการศึกษาคงรู้จักงานมหกรรมทางการศึกษาเพื่อพัฒนาวิชาชีพครู หรือ EDUCA จัดโดย บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) โดยมีครูและบุคคลากรทางการศึกษาที่มีส่วนเกียวข้องกว่า 200,000 คน ด้วยจุดร่วมเดียวกัน คือ “เพราะการศึกษาเป็นรากฐานสำคัญที่จะทำให้คนสามารถเตรียมตัวพร้อมรับกับความท้าทายต่างๆ แห่งอนาคต” ทาง EDUCA ได้พัฒนาการทำงาน แนวคิด และต่อยอดมาสู่การเป็นแพลตฟอร์มการสื่อสารเพื่อพัฒนาครูที่ถ่ายทอดองค์ความรู้ นวัตกรรมการเรียนรู้ รวมถึงทิศทางด้านการศึกษาให้กับครูไทยภายในเว็บเดียว คือ www.educathai.com ซึ่งมี 5 แกนเนื้อหาเด่นๆ บนแพลตฟอร์มออนไลน์ที่ถูกหยิกยกมาใช้ในการสื่อสาร ไปยัง “ครู” ได้แก่ EDUCA Knowledge อัดแน่นด้วยคอนเทนต์หลากหลายประเด็นให้ได้ติดตาม ตั้งแต่เรื่องราวเล็กๆ ที่เป็นเรื่องใกล้ตัวจนไปถึงหัวข้อที่พูดถึงกันในระดับประเทศและระดับโลก มีเนื้อหาครอบคลุมกลุ่มเด็ก ครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้ปกครอง ตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนถึงมหาวิทยาลัย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการเรียนการสอน เทคนิคการเรียนรู้ การวางแผนการสอน การประเมินผล นโยบายการศึกษา เป็นต้น โดยได้หยิบยกเรื่องราวทั่วไปและสถานการณ์ที่เกิดขึ้นมานำเสนอได้อย่างรวดเร็ว อย่างการถอดโมเดลการสอนของประเทศต่างๆ ในช่วงเวลาการระบาดของไวรัสโควิด-19 หรือนำเรื่องที่เป็นเทรนด์ขณะนั้นมาวิเคราะห์ เช่นภาพยนตร์ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาหรือจิตวิทยาในเด็ก เรียกได้ว่าไม่เพียงแต่อัปเดตความรู้ด้านวิชาการ แต่ยังทำให้เห็นภาพรวมที่เชื่อมโยงถึงมิติต่างๆ ของสังคมอีกด้วย Teachers as Leaners รายการด้านการศึกษาในรูปแบบวิดีโอที่เกิดจากความร่วมมือของ บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) และคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ถ่ายทอดศาสตร์การสอนและแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่น่าสนใจ ด้วยความเชื่อมโยงระหว่างทฤษฎีในสถาบันทางครุศึกษากับความรู้ทางการปฏิบัติในห้องเรียน จากอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญด้านทฤษฎีการศึกษา ครูผู้เชี่ยวชาญการสอน และนิสิตฝึกสอน ที่ร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาวิชาชีพครูให้เข้มแข็ง เนื้อหารายการแบ่งเป็น 2 ส่วนหลัก คือ รายการสากลซึ่งนำเสนอรูปแบบการสอนที่ดีจากครูในต่างประเทศ แล้วอาจารย์จากคณะครุศาสตร์ จุฬาฯ จะร่วมกันขยายความและต่อยอดไปถึงการนำไปประยุกต์กับบริบทของประเทศไทย และอีกส่วนเป็นรายการไทยที่บอกเล่าถึงทฤษฎีการศึกษา และตัวอย่างของการปฏิบัติการสอนและการบริหารที่ดีจากโรงเรียนต่างๆ EDUCA x eng24 สื่อวิดีโอการเรียนรู้ภาษาอังกฤษจาก “โครงการวิจัยและพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์” ของสถาบันภาษาอังกฤษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) และสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งมีบริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) เป็นผู้สร้างสรรค์รายการ โดยเป็นการรวมตัวกันของนักวิชาการ อาจารย์ผู้เชี่ยวชาญภาษาอังกฤษ และครีเอทีฟ ไดเร็กเตอร์รายการโทรทัศน์ ที่มาร่วมมือกัน เพื่อทำให้ eng24 เป็นสื่อพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษที่ดีที่สุดสำหรับครูและนักเรียนไทย รายการของ eng24 ประกอบด้วย eng hour สอน phonics สำหรับนักเรียนชั้น ป.1 และ ป.2 และมี eng for daily life ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันที่นำเสนอผ่านเหตุการณ์สนุกสนาน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการจดจำบทสนทนาได้เป็นอย่างดี และสามารถนำไปใช้ได้อย่างถูกต้อง รวมถึงมี eng for occupations ภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพ ซึ่งจะได้เรียนรู้จากมืออาชีพ โดยเน้นคำศัพท์ ประโยค และวัฒนธรรมที่เกิดในชีวิตจริง เพื่อใช้เป็นจุดเริ่มต้นของการประกอบอาชีพในอนาคตได้ EDUCA Podcast พอดแคสต์ที่มาในแนวคิด “Cafe Podcast คุยกันภาษา Cool ครู” กับการนำข่าวสารและเรื่องราวในแวดวงการศึกษาของไทยและต่างประเทศมาย่อยให้ฟังกันง่ายๆ ในเวลาไม่เกิน 5 นาที อาจดูว่าเป็นเวลาที่สั้น แต่เชื่อว่าเมื่อได้ฟังแล้วจะสามารถเปิดโลกการเรียนรู้ในเรื่องที่ไม่เคยรู้มาก่อนได้อย่างแน่นอน เพราะ EDUCA มองเรื่องความสดใหม่ของประเด็นเป็นสำคัญ และต้องเป็นเรื่องที่ครูสามารถนำ Key Takeaway จากเรื่องราวที่ฟังไปคิดและต่อยอดกับการทำงานของตัวเองได้ เพื่อนำไปสู่การปรับตัว และพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียนให้มีประสิทธิภาพ โดยสามารถรับฟังได้ผ่านทาง https://educathai.podbean.com EDUCA Zoom แพลตฟอร์มการสื่อสารด้านการศึกษาที่เจาะลึกประเด็นน่าสนใจและเรื่องที่ต้องขยาย กับการสัมภาษณ์พูดคุยกับผู้เชี่ยวชาญในแต่ละวงการที่เกี่ยวข้องกับด้านการศึกษา เพื่อเปิดมุมมองให้เห็นถึงแง่มุมต่างๆ ในเชิงลึกของสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในมิติที่ต่างออกไป ซึ่งครูและผู้สนใจสามารถส่งคำถามหรือแสดงความคิดเห็นระหว่างการ Live ได้ทันที จึงเหมือนได้พูดคุยกับผู้เชี่ยวชาญแบบตัวต่อตัวเลย นอกจากนั้น เพื่อรับกับการระบาดของไวรัสโควิด-19 EDUCA ได้ขยับมาทำ Online Workshop ผ่าน Zoom อีกทางหนึ่ง ทั้งหมดเป็นเนื้อหาด้านการศึกษาบนแพลตฟอร์มใหม่ที่เกิดขึ้นจากการสร้างสรรค์ของ EDUCA แพลตฟอร์มการสื่อสารเพื่อพัฒนาครูที่ไม่หยุดนิ่งในการหาสิ่งใหม่ๆ มาเสิร์ฟครูไทย ซึ่งหลังจากนี้จะมีกิจกรรมการสื่อสารด้านการศึกษาอื่นๆ ตามมาอีกแน่นอน!

    การปรับตัวรับสถานการณ์ใหม่ในยุคโควิด-19 เริ่มต้นได้ที่ตัวเราเอง EDUCA เปิด 5 แกนเนื้อหาด้านการศึกษาบนแพลตฟอร์มสุดเจ๋ง! ชวนครูไทยอัปเดตความรู้การศึกษาไทย-เทศ

  2. โรงเรียนนานาชาติรีเจ้นท์กรุงเทพฯ จัดงาน Open House

  3. บริติช เคานซิล รู้ใจวัยรุ่น! จัดคอร์ส Secondary Plus เสิร์ฟเด็กมัธยม ขนทัพกิจกรรมเรียนรู้ภาษาอังกฤษจากชีวิตจริงช่วยเสริมความมั่นใจก่อนเข้ามหาวิทยาลัย

    บริติช เคานซิล รู้ใจวัยรุ่น! จัดคอร์ส Secondary Plus เสิร์ฟเด็กมัธยม ขนทัพกิจกรรมเรียนรู้ภาษาอังกฤษจากชีวิตจริงช่วยเสริมความมั่นใจก่อนเข้ามหาวิทยาลัย

  1. สำหรับคนในแวดวงการศึกษาคงรู้จักงานมหกรรมทางการศึกษาเพื่อพัฒนาวิชาชีพครู หรือ EDUCA จัดโดย บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) โดยมีครูและบุคคลากรทางการศึกษาที่มีส่วนเกียวข้องกว่า 200,000 คน ด้วยจุดร่วมเดียวกัน คือ “เพราะการศึกษาเป็นรากฐานสำคัญที่จะทำให้คนสามารถเตรียมตัวพร้อมรับกับความท้าทายต่างๆ แห่งอนาคต” ทาง EDUCA ได้พัฒนาการทำงาน แนวคิด และต่อยอดมาสู่การเป็นแพลตฟอร์มการสื่อสารเพื่อพัฒนาครูที่ถ่ายทอดองค์ความรู้ นวัตกรรมการเรียนรู้ รวมถึงทิศทางด้านการศึกษาให้กับครูไทยภายในเว็บเดียว คือ www.educathai.com ซึ่งมี 5 แกนเนื้อหาเด่นๆ บนแพลตฟอร์มออนไลน์ที่ถูกหยิกยกมาใช้ในการสื่อสาร ไปยัง “ครู” ได้แก่ EDUCA Knowledge อัดแน่นด้วยคอนเทนต์หลากหลายประเด็นให้ได้ติดตาม ตั้งแต่เรื่องราวเล็กๆ ที่เป็นเรื่องใกล้ตัวจนไปถึงหัวข้อที่พูดถึงกันในระดับประเทศและระดับโลก มีเนื้อหาครอบคลุมกลุ่มเด็ก ครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้ปกครอง ตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนถึงมหาวิทยาลัย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการเรียนการสอน เทคนิคการเรียนรู้ การวางแผนการสอน การประเมินผล นโยบายการศึกษา เป็นต้น โดยได้หยิบยกเรื่องราวทั่วไปและสถานการณ์ที่เกิดขึ้นมานำเสนอได้อย่างรวดเร็ว อย่างการถอดโมเดลการสอนของประเทศต่างๆ ในช่วงเวลาการระบาดของไวรัสโควิด-19 หรือนำเรื่องที่เป็นเทรนด์ขณะนั้นมาวิเคราะห์ เช่นภาพยนตร์ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาหรือจิตวิทยาในเด็ก เรียกได้ว่าไม่เพียงแต่อัปเดตความรู้ด้านวิชาการ แต่ยังทำให้เห็นภาพรวมที่เชื่อมโยงถึงมิติต่างๆ ของสังคมอีกด้วย Teachers as Leaners รายการด้านการศึกษาในรูปแบบวิดีโอที่เกิดจากความร่วมมือของ บริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) และคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ถ่ายทอดศาสตร์การสอนและแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่น่าสนใจ ด้วยความเชื่อมโยงระหว่างทฤษฎีในสถาบันทางครุศึกษากับความรู้ทางการปฏิบัติในห้องเรียน จากอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญด้านทฤษฎีการศึกษา ครูผู้เชี่ยวชาญการสอน และนิสิตฝึกสอน ที่ร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาวิชาชีพครูให้เข้มแข็ง เนื้อหารายการแบ่งเป็น 2 ส่วนหลัก คือ รายการสากลซึ่งนำเสนอรูปแบบการสอนที่ดีจากครูในต่างประเทศ แล้วอาจารย์จากคณะครุศาสตร์ จุฬาฯ จะร่วมกันขยายความและต่อยอดไปถึงการนำไปประยุกต์กับบริบทของประเทศไทย และอีกส่วนเป็นรายการไทยที่บอกเล่าถึงทฤษฎีการศึกษา และตัวอย่างของการปฏิบัติการสอนและการบริหารที่ดีจากโรงเรียนต่างๆ EDUCA x eng24 สื่อวิดีโอการเรียนรู้ภาษาอังกฤษจาก “โครงการวิจัยและพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์” ของสถาบันภาษาอังกฤษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) และสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งมีบริษัท ปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) เป็นผู้สร้างสรรค์รายการ โดยเป็นการรวมตัวกันของนักวิชาการ อาจารย์ผู้เชี่ยวชาญภาษาอังกฤษ และครีเอทีฟ ไดเร็กเตอร์รายการโทรทัศน์ ที่มาร่วมมือกัน เพื่อทำให้ eng24 เป็นสื่อพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษที่ดีที่สุดสำหรับครูและนักเรียนไทย รายการของ eng24 ประกอบด้วย eng hour สอน phonics สำหรับนักเรียนชั้น ป.1 และ ป.2 และมี eng for daily life ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันที่นำเสนอผ่านเหตุการณ์สนุกสนาน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการจดจำบทสนทนาได้เป็นอย่างดี และสามารถนำไปใช้ได้อย่างถูกต้อง รวมถึงมี eng for occupations ภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพ ซึ่งจะได้เรียนรู้จากมืออาชีพ โดยเน้นคำศัพท์ ประโยค และวัฒนธรรมที่เกิดในชีวิตจริง เพื่อใช้เป็นจุดเริ่มต้นของการประกอบอาชีพในอนาคตได้ EDUCA Podcast พอดแคสต์ที่มาในแนวคิด “Cafe Podcast คุยกันภาษา Cool ครู” กับการนำข่าวสารและเรื่องราวในแวดวงการศึกษาของไทยและต่างประเทศมาย่อยให้ฟังกันง่ายๆ ในเวลาไม่เกิน 5 นาที อาจดูว่าเป็นเวลาที่สั้น แต่เชื่อว่าเมื่อได้ฟังแล้วจะสามารถเปิดโลกการเรียนรู้ในเรื่องที่ไม่เคยรู้มาก่อนได้อย่างแน่นอน เพราะ EDUCA มองเรื่องความสดใหม่ของประเด็นเป็นสำคัญ และต้องเป็นเรื่องที่ครูสามารถนำ Key Takeaway จากเรื่องราวที่ฟังไปคิดและต่อยอดกับการทำงานของตัวเองได้ เพื่อนำไปสู่การปรับตัว และพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียนให้มีประสิทธิภาพ โดยสามารถรับฟังได้ผ่านทาง https://educathai.podbean.com EDUCA Zoom แพลตฟอร์มการสื่อสารด้านการศึกษาที่เจาะลึกประเด็นน่าสนใจและเรื่องที่ต้องขยาย กับการสัมภาษณ์พูดคุยกับผู้เชี่ยวชาญในแต่ละวงการที่เกี่ยวข้องกับด้านการศึกษา เพื่อเปิดมุมมองให้เห็นถึงแง่มุมต่างๆ ในเชิงลึกของสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในมิติที่ต่างออกไป ซึ่งครูและผู้สนใจสามารถส่งคำถามหรือแสดงความคิดเห็นระหว่างการ Live ได้ทันที จึงเหมือนได้พูดคุยกับผู้เชี่ยวชาญแบบตัวต่อตัวเลย นอกจากนั้น เพื่อรับกับการระบาดของไวรัสโควิด-19 EDUCA ได้ขยับมาทำ Online Workshop ผ่าน Zoom อีกทางหนึ่ง ทั้งหมดเป็นเนื้อหาด้านการศึกษาบนแพลตฟอร์มใหม่ที่เกิดขึ้นจากการสร้างสรรค์ของ EDUCA แพลตฟอร์มการสื่อสารเพื่อพัฒนาครูที่ไม่หยุดนิ่งในการหาสิ่งใหม่ๆ มาเสิร์ฟครูไทย ซึ่งหลังจากนี้จะมีกิจกรรมการสื่อสารด้านการศึกษาอื่นๆ ตามมาอีกแน่นอน!

    การปรับตัวรับสถานการณ์ใหม่ในยุคโควิด-19 เริ่มต้นได้ที่ตัวเราเอง…

    2020.06.09

  2. EDUCA แนะ 9 เทคนิคให้ครูซ้อม Teach from Home แบบไม่ Burnout

    EDUCA แนะ 9 เทคนิคให้ครูซ้อม Teach from Home แบบไม่ Burnout!

    2020.04.21

  3. บริติช เคานซิล รู้ใจวัยรุ่น! จัดคอร์ส Secondary Plus เสิร์ฟเด็กมัธยม ขนทัพกิจกรรมเรียนรู้ภาษาอังกฤษจากชีวิตจริงช่วยเสริมความมั่นใจก่อนเข้ามหาวิทยาลัย

    บริติช เคานซิล รู้ใจวัยรุ่น! จัดคอร์ส Secondary Plus เสิร์ฟเด็ก…

    2020.03.20

  4. โรงเรียนนานาชาติรีเจ้นท์กรุงเทพฯ จัดงาน Open House

    2019.04.29